โครงการวิจัยก่อนปี 2557
Optifood an approach to improve nutrition | รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล | |
โครงการศึกษาแผนที่ความรู้ในตัวคนและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาหาร ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม | นางจรณะ ทรัพย์สุวรรณ | |
Sustainable Micronutrient Interventions to Control Deficiencies and Improve Nutritional Status and General Health in Asia-SMILING | รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล | |
Assessment of body composition and total energy expenditure in children (Evaluating the impact of locally developed food on the nutritional status of infants and pre-school children: Phase 2) | รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล | |
การสำรวจการบริโภคมันเทศในประเทศไทย | ผศ.ปรัญรัชต์ ธนวิยุทธ์ภัคดี | |
การศึกษารูปแบบการเพาะปลูกและการผลิตมันเทศบนฐานวัฒนธรรมไทยแบบครบวงจรกรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดพิจิตร | ประภา คงปัญญา | |
องค์ประกอบของร่างกายและอาหารที่ได้รับในเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | ดร.ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ | |
ฤทธิ์ลดการอักเสบและลดอนุมูลอิสระในเซลล์เม็ดเลือดขาวของมนุษย์ชนิดโมโนไซด์ที่เหนี่ยวนำด้วยไลโปโปลีแซคคาไรด์ของสารสกัดจากมะละกอ ส้มโอ ฝรั่ง เงาะ และทุเรียน | ผศ.ดร.ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์ | |
ผลของใบผักชีฝรั่งต่อการป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ในหนูเม้าส์ กลไกการออกฤทธิ์ระดับโปรตีนด้วยเทคนิคโปรตีโอมิกส์ และผลต่อการอักเสบและการเกิดอนุมูลอิสระในเซลล์ลำไส้มนุษย์ | ผศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่ | |
การสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กไทยอายุ 6 เดือน-12 ปี | ผศ.ดร.นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล | |
การบริการเป็นที่ปรึกษาการผลิตน้ำผัดไทยในบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนตัว (หรือขวดแก้วและการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสมันกุ้ง) | รศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาวะที่ดีของประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย | รศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการวิจัยด้านอาหารเพื่อพัฒนาโภชนาการของแม่และเด็ก | รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล | |
โครงการบูรณาการเทคโนโลยีชีวภาพในการสร้างพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่าสูง | รศ.ดร.รัชนี คงคาฉุยฉาย | |
การศึกษาค่าดัชนีน้ำตาลของน้ำตาลมะพร้าวและน้ำหวานดอกมะพร้าว | ผศ.ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ | |
ผลของการหุงต้มและการแปรรูปทางอุตสาหกรรมต่อคุณค่าทางโภชนาการ และสารออกฤทธิ์ชีวภาพในข้าวนึ่งกล้องงอกและแป้งข้าวนึ่งกล้องงอกจากข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 (ภายใต้แผนงานวิจัย โภชนาการและประโยชน์ต่อสุขภาพของข้าวนึ่งกล้องงอก สายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105) | ผศ.ดร.สมเกียรติ โกศัลวัฒน์ | |
การศึกษาสมบัติยับยั้งเอนไซม์ไลเปสและการต้านการเกิดโรคอัลไซเมอร์ในข้าวนึ่งกล้องงอก (ภายใต้แผนงานวิจัย โภชนาการและประโยชน์ต่อสุขภาพของข้าวนึ่งกล้องงอกสายพันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105) | ดร.อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์ | |
การประเมินชีวความพร้อม ชีวประสิทธิผลของสารออกฤทธิ์ และศักยภาพการลดการอักเสบ ลดอนุมูลอิสระ ของข้าวกล้องงอกนึ่งสายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 หุงสุกที่ผ่านการย่อยในหลอดทดลอง (ภายใต้แผนงานวิจัย โภชนาการและประโยชน์ต่อสุขภาพของ ข้าวนึ่งกล้องงอก สายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105) | ผศ.ดร.ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์ | |
การศึกษาศักยภาพของข้าวกล้องงอกในการต้านออกซิเดทีฟสเตรส ต้านการอักเสบ ต้านการทำลายดีเอ็นเอในตับและสมอง ต้านความดันโลหิตสูง และลดคลอเรสเตอรอล ในหนูทดลอง(ภายใต้แผนงานวิจัย โภชนาการและประโยชน์ต่อสุขภาพของข้าวนึ่ง กล้องงอกสายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105) | ผศ.ดร.เอกราช เกตวัลห์ | |
ผลของการรับประทานข้าวนึ่งกล้องงอกต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาล อินสุลิน ไขมันในเลือดภูมิคุ้มกัน และความจำในผู้สูงอายุ (ภายใต้แผนงานวิจัย โภชนาการและประโยชน์ต่อสุขภาพ ของข้าวนึ่งกล้องงอกสายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105) | ผศ.ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ | |
ประสิทธิภาพในการต้านการอักเสบและต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดและส่วนที่ผ่านการย่อย ในเซลล์ลำไส้มนุษย์ของพืชอาหารที่พบในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดกาญจนบุรี | นายชาญณรงค์ เมืองน้อย | |
การค้นหาโปรตีนหวานหรือโปรตีนปรับเปลี่ยนความหวานจากผลมะขามป้อม | ดร.อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์ | |
การพัฒนาเครื่องดื่มโพรไบโอแอคทีฟจากข้าวกล้องที่มีปริมาณสารกาบาสูง | ดร.ชลัท ศานติวรางคณา | |
นวัตกรรมอาหารต้านมะเร็งช่องปาก | ศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต | |
การวิจัยและประเมินความเสี่ยงด้านอาหารปลอดภัย(สารหนูในข้าว) | ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
โครงการประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนสารหนูในข้าว และแนวทางจัดการความเสี่ยง | ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตน้ำตาลมะพร้าวที่ปลอดภัยและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ | ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
โครงการศึกษาข้อมูลการบริโภคอาหารของประเทศไทยในถั่วลิสงและพริก | ผศ.ดร.นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล | |
การศึกษาความปลอดภัยของเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตอาหารโดยใช้หนูทดลอง | ผศ.ดร.เอกราช เกตวัลห์ | |
การศึกษาหารูปแบบและสื่อการเรียนรู้ในการจัดการความปลอดภัยอาหารโรงเรียน โดยการประเมินความเสี่ยงเพื่อเป็นต้นแบบในการแก้ปัญหาความไม่ปลอดภัยของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงต่อการได้รับวัตถุกันเสียในอาหารที่นักเรียนนิยมบริโภค กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดนครปฐม | ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การพัฒนาผู้ประกอบการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนรายเล็กและกลางเพื่อเข้าสู่ระบบมาตรฐานและผลิตภัณฑ์ ให้ได้มาตรฐานทั้งประเทศ | รศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต | |
การวิจัยด้านการส่งเสริมความรู้ในการจัดการความปลอดภัยการบริการอาหารโรงเรียน | ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
รูปแบบการส่งเสริมอาหารและโภชนาการผู้สูงอายุระดับชุมชนอย่างมีส่วนร่วม | พัศมัย เอกก้านตรง | |
การจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการที่เหมาะสมด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการมีสุขภาวะที่ดีของคนไทยด้วยโภชนาการที่เหมาะสม | ศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต | |
การวิจัยบูรณาการเพื่อเพิ่มศักยภาพและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ: ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และโภชนาการ | รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล | |
โครงการระบบการเฝ้าระวังเพื่อการคุ้มครองเด็ก | ศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินด้านอาหารปลอดภัย ด้านพฤติกรรมการบริโภคที่มีผลต่อสุขภาพ และด้านสุขภาพในแต่ละช่วงวัยวงจรชีวิตมนุษย์ | ศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต | |
ผลของการหุงต้มต่อปริมาณใยอาหาร และออกซาเลตในพืชผัก และถั่วชนิดต่างๆ ของไทย | ดร. ครรชิต จุดประสงค์ | |
การศึกษาชีวภาพความพร้อมและคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ ของฟลาโวนอยด์จากใบมะกรูดในหลอดทดลองและศักยภาพ ในการป้องกันการแตกหักของโครโมโซมในหนูเม้าส์ โดยวิธีการตรวจไมโครนิวเคลียสในเม็ดเลือดแดง (ภายใต้โครงการวิจัยครบวงจรเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร สำหรับการมีชีวิตที่ยืนยาวอย่างมีคุณภาพ) | ผศ.ดร. ชนิพรรณ บุตรยี่ | |
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตนมถั่วเหลืองเสริมแคลเซียม สู่ชุมชน จังหวัดลำปาง | รศ.ดร. ทรงศักดิ์ ศรีอนุชาติ และอรพินท์ บรรจง |
|
การเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์หาปริมาณ thiamin และ riboflavin ในอาหารโดยวิธี microbiological assays และวิธี high-performance liquid chromatography | นฤมล ปิ่นประไพ | |
การพัฒนาตัวอย่างอาหารอ้างอิง (ตัวอย่างข้าว) และการใช้เพื่อ ประเมินสถานะภาพการวิเคราะห์อาหาร (ข้าว) ของห้องปฏิบัติการในประเทศไทย | รศ.ดร. ประภาศรี ภูวเสถียร | |
การพัฒนาและผลิตไข่ไก่เพื่อให้มีแร่ธาตุสังกะสีเพิ่มขึ้น | รศ.ดร. ประภาศรี ภูวเสถียร | |
โครงการปรับปรุงประกาศ เรื่อง ฉลากโภชนาการ | รศ.ดร. ประภาศรี ภูวเสถียร | |
ผลของเครื่องแกงแดงต่อสภาวะ oxidative stress โดยศึกษาใน HepG2 cells | ดร. ประภาศรี เลาหเวชวานิช | |
ผลของใบมะกรูดต่อสภาวะ oxidative stress โดยศึกษาใน HepG2 cells | ดร. ประภาศรี เลาหเวชวานิช | |
การศึกษาการนำธาตุเหล็กชนิดต่างๆ ที่เสริมลงในบะหมี่สด ไปใช้ประโยชน์ได้โดยวิธีการเลียนแบบระบบการย่อยและการดูดซึม ในหลอดทดลอง | ผศ.ดร. รัชนี คงคาฉุยฉาย | |
การศึกษาการนำธาตุเหล็กไปใช้ประโยชน์โดยวิธีเลียนแบบการย่อย และการดูดซึมในหลอดทดลองของผลิตภัณฑ์บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เสริมธาตุเหล็กชนิดต่างๆ | ผศ.ดร. รัชนี คงคาฉุยฉาย | |
คุณค่าโภชนาการของผลไม้ไทยเพื่อสุขภาพและมูลค่าเพิ่ม | ผศ.ดร. รัชนี คงคาฉุยฉาย | |
การวิเคราะห์ปริมาณเบต้าแคโรทีน ไลโคปีน แร่ธาตุ น้ำตาล และใยอาหารชนิดที่ไม่ละลายน้ำและชนิดที่ละลายน้ำ ในผลไม้สดและผลิตภัณฑ์ผลไม้ | ริญ เจริญศิริ | |
พัฒนาตำรับอาหารไทยที่มีแคลเซียมสูง | ผศ.ดร. วงสวาท โกศัลวัฒน์ | |
โครงการวิจัยครบวงจรเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับการมีชีวิต ที่ยืนยาวอย่างมีคุณภาพ (ระยะที่ 1) | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การหาปริมาณฟลาโวนอยด์และไฟโตสเตอรอลในอาหารไทย เพื่อสุขภาพ | ผศ.ดร. สมเกียรติ โกศัลวัฒน์ | |
การพัฒนาชุดสำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ (ภายใต้ชุดโครงการวิจัย การวิจัยอาหารไทยเชิงสุขภาพ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการวิจัย และการทดสอบตลาดอาหารไทย เพื่อครัวไทยสู่ครัวโลก) | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
การศึกษาคุณค่าด้านสุขภาพของน้ำพริกแกงชนิดไม่มีกะทิ และผลิตภัณฑ์ โดยการใช้การทดลองแบบ in vitro | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
การศึกษาคุณค่าด้านสุขภาพของน้ำพริกแกงและอาหารไทย โดยการใช้การทดลองแบบ in vitro | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
การศึกษาคุณสมบัติของแกงเลียงต่อการสร้างเอ็นไซม์ NAD(P)H: quinone reductase ในตับ และการยับยั้งการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในหนูแรทสายพันธุ์ Wistar (ภายใต้ชุดโครงการวิจัย การวิจัยอาหารไทยเชิงสุขภาพ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการวิจัย และการทดสอบตลาดอาหารไทย เพื่อครัวไทยสู่ครัวโลก) | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
การศึกษาคุณสมบัติต่อระบบการทำงานบางอย่างเชิงสุขภาพ ของอาหารไทยที่นิยมบริโภค (ภายใต้ชุดโครงการวิจัย การวิจัยอาหารไทยเชิงสุขภาพ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการวิจัย และการทดสอบตลาดอาหารไทย เพื่อครัวไทยสู่ครัวโลก) | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
การศึกษาชีวประสิทธิผลของแคลเซี่ยมในอาหารไทยบางชนิด จากองค์ประกอบทางเคมีของอาหาร | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
การศึกษาปริมาณฟลาโวนอยด์ในอาหารไทย (ภายใต้ชุดโครงการวิจัย การวิจัยอาหารไทยเชิงสุขภาพ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการวิจัย และการทดสอบตลาดอาหารไทย เพื่อครัวไทยสู่ครัวโลก) | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
โครงการการศึกษาความคงตัวของสารพฤษเคมี และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ ในผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากบัวบก และผลิตภัณฑ์อาหารที่เติมกากบัวบก (Stability study of phytochemical contents and rree-radical-scarvenging activity in pennywort (Centella asiatica (Linn.) Urban) beverages and food product containing pennywort residue) | ผศ.ดร. สิติมา จิตตินันทน์ | |
การประยุกต์ใช้ใยอาหารที่สกัดจากส่วนเหลือทิ้งของอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์สมุนไพรในผลิตภัณฑ์อาหาร (ภายใต้แผนงานวิจัย การวิจัยและพัฒนาสมุนไพร ขมิ้นชัน เป็นยา อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อที่ใช้กับคนและสัตว์) | ผศ.ดร. อาณดี นิติธรรมยง | |
ปริมาณโคเอนไซม์คิวเทนในเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และน้ำมันพืชชนิดต่างๆ ของไทย | ดร. เอกราช เกตวัลห์ | |
การศึกษาอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์น้ำตาลเพื่อสุขภาพ | ผศ. สิติมา จิตตินันทน์ | |
การพัฒนาและผลิตไข่ไก่เพื่อให้มีแร่ธาตุสังกะสีเพิ่มขึ้น | รศ.ดร. ประภาศรี ภูวเสถียร | |
โครงการวิจัยครบวงจรเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับ การมีชีวิตที่ยืนยาวอย่างมีคุณภาพ (ระยะที่ 1) | ศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การประยุกต์ใช้ใยอาหารที่สกัดจากส่วนเหลือทิ้งของอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์สมุนไพรในผลิตภัณฑ์อาหาร | ผศ.ดร. อาณดี นิติธรรมยง | |
การปรับปรุงสูตรและกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ผสมถั่ว แมคคาเดเมีย | ผศ.ดร. อาณดี นิติธรรมยง | |
ผลของการเติมใยอาหารต่อคุณภาพของขนมปังที่ผลิตโดยกระบวนการ ที่แตกต่างกัน | ผศ.ดร. อาณดี นิติธรรมยง | |
การทดสอบคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์น้ำมันพืชสำหรับเด็ก | ดร. ชลัท ศานติวรางคณา | |
ศักยภาพของสีธรรมชาติที่สกัดได้จากเชื้อรา monascus spp. ในการ ลดฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ของสารที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิกิริยาอะมิโนไพรีน หรือน้ำต้มเนื้อเข้มข้นกับโซเดียมไนไตรทด้วยวิธี ames test | กัลยารัตน์ เครือวัลย์ | |
การลดฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ในแมลงหวี่ของไข่แดงจากแม่ไก่ซึ่งกินอาหาร ที่เสริมกลีบดอกดาวเรือง | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ผลการต้านฤทธิ์การก่อกลายพันธุ์ของยูรีเทนโดยชาใบหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 ทดสอบด้วยวิธี smart | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ผลของการเสริมกรดอะมิโนบางชนิดต่อการก่อกลายพันธุ์แบบ somatic mutation and recombination ของยูรีเทนในแมลงหวี่ | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ผลของผงปรุงรสต่อการเกิดสารที่เกิดในเนื้อสุกรที่ทำปฏิกิริยากับโซเดียม ไนไตรท์ ได้สารก่อกลายพันธุ์: เปรียบเทียบผลระหว่างเนื้อสุกร ที่เลี้ยงด้วยอาหารสูตรมีและ ไม่มีสมุนไพรเป็นองค์ประกอบ | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ผลของผักบางชนิดต่อการเกิดขึ้นของสารตั้งต้นของสารก่อกลายพันธุ์ ในเนื้อวัวทอด และการปรับเปลี่ยนฤทธิ์การก่อกลายพันธุ์ของสารตั้งต้น ของสารก่อกลายพันธุ์ในเนื้อวัวทอด ที่ทำปฏิกิริยากับไนไตรท์ด้วยวิธี Ames Test | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ผลของสารสกัดน้ำร้อนจากสมุนไพรไทยต่อฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์เนื่องจาก ยูรีเทนในแมลงหวี่ | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ฤทธิ์การก่อกลายพันธุ์ของส่วนสกัดเอทานอลและเฮกเซนจาก อาหารไทย ต่ออะมิโนพัยรีนที่ทำปฏิกิริยากับไนไตรท ในการทดสอบเอมส์ | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ของน้ำคั้นสดจากผักพื้นบ้านศึกษาโดย somatic mutation and recombination test | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากบัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.) ต่อ Somatic Mutation and Recombination ที่เหนี่ยวนำด้วยยูรีเทนในแมลงหวี่ | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ในแมลงหวี่ของผักตระกูลกะหล่ำปลีดิบ และผ่านการปรุงสุก | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
ศักยภาพในการต้านฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์และต้านการเกิดสารก่อกลายพันธุ์ ของสารสกัดจากอาหารไทยบางชนิดที่ศึกษาโดย Ames test (ภายใต้ชุดโครงการวิจัย การวิจัยอาหารไทยเชิงสุขภาพ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการวิจัย และการทดสอบตลาดอาหารไทย เพื่อครัวไทยสู่ครัวโลก) | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
สมุนไพรหนุมานประสานกายต่อฤทธิ์ยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ที่กระตุ้น ด้วยยูรีเทนในแมลงหวี่สายพันธุ์ Drosophila melanogaster | รศ.ดร. แก้ว กังสดาลอำไพ | |
การพัฒนาสุขาภิบาลอาหารและพัฒนาบุคลากรประจำห้องอาหาร ครัวตำหนักของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงให้ได้มาตรฐานในด้านสุขาภิบาลและการบริการ | ดร. ชนิดา ปโชติการ | |
การยับยั้งการเกิดสารประกอบไนโตรซามีนของน้ำพริกแกงของไทย | ผศ. เนตรนภิส ธนนิเวศน์กุล | |
การส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดี ของเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียนในชุมชนอำแพง อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร | ผศ. เนตรนภิส ธนนิเวศน์กุล | |
การจัดทำหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติสำหรับประเมินความปลอดภัย ด้านพิษวิทยาของเชื้อจุลินทรีย์ ที่นำมาใช้ในอาหาร | ผศ. เนตรนภิส ธนนิเวศน์กุล | |
โครงการวิจัยรูปแบบการจัดการความปลอดภัยในเนื้อหมูในขั้นตอน การขนส่งซากสุกร | ผศ. เนตรนภิส ธนนิเวศน์กุล | |
การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์โดยใช้ หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (GMP) ไปบังคับใช้ตามกฎหมายทั่วประเทศ | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การศึกษาพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรดต่ำ และที่ปรับสภาพความเป็นกรด | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การศึกษาและพัฒนามาตรฐานคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การศึกษาและพัฒนารูปแบบการผลิตและควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อาหารกลุ่มเสี่ยงที่ต้องบังคับใช้ หลักเกณฑ์จีเอ็มพี (GMP) กฎหมาย สำหรับสถานประกอบการขนาดเล็กและกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ในเขตภาคเหนือ | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การศึกษาและพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรดต่ำ และที่ปรับสภาพความเป็นกรด (ต่อเนื่อง) | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การศึกษาและพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรดต่ำ และที่ปรับสภาพความเป็นกรด (ต่อเนื่อง) | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การศึกษาและพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรดต่ำ และที่ปรับสภาพความเป็นกรด เพื่อการบังคับใช้ GMP อาหารกระป๋องเข้าสู่มาตรฐานสากล | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อพัฒนา กฎระเบียบด้านจุลินทรีย์ สารเคมีและมาตรการกำกับดูแลความปลอดภัย ของผู้บริโภคตามความเสี่ยงที่เหมาะสมต่อผลิตภัณฑ์อาหารที่มี การปรับลดสถานะ โดยใช้หลักการประเมินความเสี่ยง | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การสำรวจสถานการณ์การปนเปื้อนของกรดไขมันชนิดทรานส์ใน ผลิตภัณฑ์อาหารในประเทศไทย | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการพัฒนาความปลอดภัยหน่อไม้บรรจุปี๊บ | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการพัฒนาโรงงานแปรรูปนมพร้อมดื่ม จัดทำระบบและมาตรฐาน การตรวจติดตามคุณภาพภายในเพื่อเตรียมความพร้อมในการรองรับ วิธีการที่ดีในการผลิต(จีเอ็มพี) นมพร้อมดื่มที่จะบังคับใช้เป็นกฎหมาย | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการวิจัยเชิงปฎิบัติการเพื่อสร้างมาตรฐานการผลิตและคุณภาพ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท สำหรับผู้ผลิตขนาดเล็ก (ต่อเนื่อง) | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างมาตรฐานการผลิตและคุณภาพ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท สำหรับผู้ผลิตขนาดเล็ก | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการวิจัยเชิงประยุกต์ ในการใช้บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวแทนบรรจุภัณฑ์แบบกระป๋อง | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการวิจัยสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองสำหรับผู้ผลิตเครื่องดื่มและน้ำ บริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท | รศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
การทดสอบรูปแบบการขนส่งและการเก็บรักษานมโรงเรียน ในสถานการณ์จริง | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การประเมินการได้รับกลูตาเมต จากการบริโภคอาหารของคนไทย ในภาคกลาง | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การประเมินความเสี่ยงของการได้รับสัมผัสกรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิก จากการบริโภคอาหารของคนไทยตามค่าปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ ในอาหารตามกฎหมาย ของประเทศไทย | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การประเมินความเสี่ยงของการได้รับสัมผัสกรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิก จากอาหารประเภทไส้กรอกและหมูยอที่จำหน่ายในท้องตลาด ของคนไทย | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การประเมินผลสถานการณ์และการประเมินความเสี่ยงการใช้วัตถุเจือปน อาหารโซเดียมไนเตรตและโซเดียมไนไตรต์ ทั่วประเทศ | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำตาลปี๊บและน้ำตาลปึกเพื่อความปลอดภัย ในการบริโภคและถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อเศรษฐกิจชุมชน | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การวิจัยและพัฒนารูปแบบในการขนส่งและการเก็บรักษานมโรงเรียน เพื่อความปลอดภัยในการบริโภค | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การศึกษาปัญหาการตกค้างของสารไนเตรท และไนไตรท์ ในผักทั่วไป (เคมี) ผักปลอดภัยจากสารพิษ และผักอินทรีย์ | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การศึกษาสถานการณ์ความปลอดภัยนมโรงเรียนชนิดพลาสเจอร์ไรส์ ในขั้นตอนการขนส่ง การเก็บรักษาและจัดทำรูปแบบที่ปฏิบัติได้ที่โรงเรียน | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การศึกษาสถานการณ์และระบบจัดการความปลอดภัยด้านอาหาร กลุ่มสัตว์บกและผลิตภัณฑ์ กลุ่มน้ำนมและผลิตภัณฑ์ | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
โครงการประเมินความเสี่ยงของการได้รับสีผสมอาหาร (สีสังเคราะห์) จากการบริโภคอาหารของเด็กนักเรียนในเขตเมืองและเขตชนบท ของภาคใต้ | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
การพัฒนาสุขาภิบาลอาหารและพัฒนาบุคลากรประจำห้องอาหาร ครัวตำหนัก ของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงให้ได้มาตรฐานในด้านสุขาภิบาล และการบริการ | ผศ.ดร. เวณิกา เบ็ญจพงษ์ | |
Exfoliaed buccal mucosa cells as a source of DNA to study oxidative stress | Dr. Gayatri Borthakur | |
การพัฒนาเครื่องมือชุดตัวชี้วัดความมั่นคงด้านจุลโภชนาหารใน ครัวเรือนที่อาศัยในชุมชนแออัดคลองเตย | ผศ.ดร. จินตนา หย่างอารี | |
การศึกษาภาวะโภชนาการและการดัดแปลงอาหารพื้นบ้านให้เหมาะสม กับโรคเบาหวานและโรคหัวใจและหลอดเลือด พื้นที่ศึกษาโครงการพัฒนาดอยตุง | ดร. ชนิดา ปโชติการ | |
โครงการการศึกษาประสิทธิผลของการนำแคลเซียมจากใบขี้เหล็ก ไปใช้ ในร่างกายของหญิงวัยหมดประจำเดือน | รศ.ดร. ประไพศรี ศิริจักรวาล | |
ผลของข้าวเหล็กสูงต่อภาวะธาตุเหล็กในเด็กที่มีภาวะพร่องธาตุเหล็ก | รศ.ดร. ประไพศรี ศิริจักรวาล | |
การตรวจเลือดเพื่อวัดการขาดวิตามินเอจากเส้นเลือดดำและ เส้นเลือดฝอย | รศ.ดร. พงศธร สังข์เผือก | |
การตรวจวัดปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์และบุตร (เด็กวัยเรียน) ในประชากรที่มีการขาดไอโอดีนระดับไม่รุนแรงในประเทศไทย | รศ.ดร. พัตธนี วินิจจะกูล | |
การศึกษาการใช้ประโยชน์ในร่างกายของธาตุเหล็กที่ใช้เสริม ในน้ำปลา ในผู้หญิงไทย | รศ.ดร. พัตธนี วินิจจะกูล | |
การศึกษาการดูดซึมและการนำธาตุเหล็กไปใช้ประโยชน์ในร่างกาย ของผู้ที่มียีนแฝงธาลัสซีเมีย | รศ.ดร. พัตธนี วินิจจะกูล | |
การศึกษาประสิทธิผลของการได้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเสริมสารธาตุเหล็ก สังกะสี วิตามินเอ และไอโอดีน ต่อภาวะจุลโภชนาการ การเติบโต สัดส่วนของร่างกาย การเรียนรู้และการเจ็บป่วยของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | รศ.ดร. พัตธนี วินิจจะกูล | |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารจาก ธัญพืชที่เสริมผงธาตุเหล็กในรูป carbonyl และ hydrogen-reduced ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ | รศ.ดร. พัตธนี วินิจจะกูล | |
การศึกษาการนำธาตุเหล็กชนิดต่างๆ ที่เสริมลงในบะหมี่สด ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยวิธีการเลียนแบบระบบการย่อยและการดูดซึม ในหลอดทดลอง | ผศ.ดร. รัชนี คงคาฉุยฉาย | |
การศึกษาการนำธาตุเหล็กไปใช้ประโยชน์โดยวิธีเลียนแบบการย่อย และการดูดซึมในหลอดทดลองของผลิตภัณฑ์บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเสริม ธาตุเหล็กชนิดต่างๆ | ผศ.ดร. รัชนี คงคาฉุยฉาย | |
การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคอ้วนในเด็กที่มี มารดาในภาวะโภชนาการต่างๆ | ผศ.ดร. วงสวาท โกศัลวัฒน์ | |
โครงการการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบซ้ำ | ผศ.ดร. วันทนีย์ เกรียงสินยศ | |
ประสิทธิผลของการจำกัดปริมาณการบริโภคโซเดียมโดยใช้ เครื่องปรุงรสที่มีโซเดียมต่ำแทนเครื่องปรุงรสปกติต่อระดับ ความดันโลหิตในผู้ที่มี ความดันโลหิตสูง | ผศ.ดร. วันทนีย์ เกรียงสินยศ | |
การศึกษาความสามารถในการดูดซึมนำไปใช้ของแคลเซียมใน อาหารไทยบางชนิด | ผศ.ดร. สมศรี เจริญเกียรติกุล | |
Impact of double-fortified fish sauce on iron status of Thai population | รศ.ดร. เอมอร วสันตวิสุทธิ์ | |
Maternal vitamin A and beta-carotene supplementation to reduce maternal and infant mortality in rural Bangladesh | รศ.ดร. เอมอร วสันตวิสุทธิ์ | |
การแก้ไขภาวะการขาดวิตามินเอในแม่และเด็กชาวกะเหรี่ยง อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ การพัฒนาอาหารเสริมสำหรับทารกในพื้นที่ที่มีปัญหาการขาด วิตามินเอ การพัฒนาอาหารเสริมสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ในพื้นที่ ที่มีปัญหาการขาดวิตามินเอ ศึกษาภาวะโภชนาการของหญิงให้นมบุตรชาวกะเหรี่ยงและ คุณภาพน้ำนม ในพื้นที่ที่มีปัญหาการขาดวิตามินเอ | รศ.ดร. เอมอร วสันตวิสุทธิ์ | |
การศึกษาผลของสมุนไพรและเครื่องเทศที่ใช้ในอาหารไทย ต่อการดูดซึมธาตุเหล็ก | รศ.ดร. เอมอร วสันตวิสุทธิ์ | |
การสำรวจพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าในเด็กวัยเรียน | รศ. ประไพศรี ศิริจักรวาล | |
การพัฒนาวิธีการประเมินไขมันและระดับการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่แม่นตรงและเชื่อถือได้ และดัชนีมวลกายตามอายุสำหรับเด็กไทย | รศ.ดร. กัลยา กิจบุญชู | |
เปรียบเทียบการกะปริมาณอาหารระหว่างวิธีมาตรฐานกับวิธี ตามข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย | ผศ.ดร.กิตติ สรณเจริญพงศ์ | |
Determinants of breastfeeding practices among mothers attending the well baby clinic at the mother and child health hospital Veintiane Lao PDR | ผศ.ดร. จินตนา หย่างอารี | |
การพัฒนาเครื่องมือชุดตัวชี้วัดความมั่นคงด้านจุลโภชนาหาร ในครัวเรือนที่อาศัยในชุมชนแออัดคลองเตย | ผศ.ดร. จินตนา หย่างอารี | |
การพัฒนาวงจรอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืนของชุมชนลุ่มน้ำ ท่าจีน-แม่กลอง | ผศ.ดร. จินตนา หย่างอารี | |
การศึกษาภาวะโภชนาการและการดัดแปลงอาหารพื้นบ้าน ให้เหมาะสมกับโรคเบาหวานและโรคหัวใจและหลอดเลือด พื้นที่ศึกษาโครงการพัฒนาดอยตุง | ดร. ชนิดา ปโชติการ | |
การศึกษาปริมาณพลังงานและสารอาหารที่เด็กไทยวัยเรียน ได้รับจากอาหารมื้อเช้า: กรณีศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา 3 | รศ.ดร. ประไพศรี ศิริจักรวาล | |
โครงการทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคต่อสัญลักษณ์ของระดับสารอาหาร | รศ.ดร. ประไพศรี ศิริจักรวาล | |
โครงการส่งเสริมการผลิตนมถั่วเหลืองเสริมแคลเซียม ระดับโรงเรียน | รศ.ดร. ประไพศรี ศิริจักรวาล | |
การพัฒนาตำรับอาหารท้องถิ่นสำหรับผู้สูงอายุ | พัศมัย เอกก้านตรง | |
การส่งเสริมวัฒนธรรมการบริโภคอาหารท้องถิ่น ที่เหมาะสมของกลุ่มชาติพันธุ์ (กะเหรี่ยง) ภาคตะวันตก : กรณีศึกษา บ้านสะเนพ่อง ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี | ไพรวัลย์ ตันติวัฒนเสถียร | |
การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคอ้วนในเด็ก ที่มีมารดาในภาวะโภชนาการต่างๆ | ผศ.ดร. วงสวาท โกศัลวัฒน์ | |
โครงการสำรวจการบริโภคอาหารของคนไทย | ผศ.ดร. วงสวาท โกศัลวัฒน์ | |
การศึกษารูปแบบและแนวทางการพัฒนานักฟุตบอลด้วยโภชนาการ | วิยะดา ทัศนสุวรรณ | |
โครงการวิจัยสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองสำหรับผู้ผลิตเครื่องดื่มและ น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท | ศ.ดร. วิสิฐ จะวะสิต | |
โครงการสื่อสารเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการให้อาหารเด็กอย่าง เหมาะสมตามวัย | สมโชค คุณสนอง | |
กระบวนการและวิธีการในการพัฒนาสุขภาวะและโภชนาการที่ดีของเด็ก และผู้หญิงกลุ่มชาติพันธุ์ (กะเหรี่ยงในชุมชนสะเนพ่อง) | ดร. สุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ | |
โครงการพัฒนาอาหารและโภชนาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก และเยาวชนจังหวัดนครปฐม (โครงการอาหารเพื่อลูกหลานไทย) ปีที่ 1-2 | ดร. สุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ | |
โครงการศึกษาเบื้องต้นเพื่อพัฒนาสุขภาวะและชุมชนเรียนรู้ จิตตปัญญาอย่างมีส่วนร่วม | ดร. สุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ | |
โครงการศึกษาวิจัยแนวทางการฟื้นฟูวิถีชีวิตและชุมชนที่ได้รับ ผลกระทบจากเขื่อนปากมูล | สุวรรณี พรหมจันทร์ | |
บทบาทผู้หญิงกับป่าชุมชนและความมั่นคงด้านอาหาร : กรณีศึกษา บ้านซะซอม อ. โขงเจียม และบ้านชาด อ. ศรีเชียงใหม่ จ. อุบลราชธานี | สุวรรณี พรหมจันทร์ | |
โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อการพัฒนาความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการในประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ | ดร. โสฬส ศิริไสย์ | |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเคี้ยวกับ ภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุ | อรพินท์ บรรจง | |
โครงการทบทวนวรรณกรรมและประมวลองค์ความรู้เพื่อขับเคลื่อน เครือข่ายการวิจัยและพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตของกลุ่ม ประชากรสูงอายุ | อรพินท์ บรรจง | |
โครงการพัฒนาตำรับอาหารเพื่อการจัดอาหารกลางวันศูนย์พัฒนา เด็กเล็กภาคอีสาน | อรพินท์ บรรจง | |
การแก้ไขภาวะการขาดวิตามินเอในแม่และเด็กชาวกะเหรี่ยง อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ การพัฒนาอาหารเสริมสำหรับทารกในพื้นที่ที่มีปัญหาการขาด วิตามินเอ การพัฒนาอาหารเสริมสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ในพื้นที่ที่มีปัญหาการขาดวิตามินเอศึกษาภาวะโภชนาการของหญิงให้นมบุตรชาวกะเหรี่ยงและ คุณภาพน้ำนมในพื้นที่ที่มีปัญหาการขาดวิตามินเอ | รศ.ดร. เอมอร วสันตวิสุทธิ์ |