โครงการวิจัยปี 2558

ลำดับที่
โครงการวิจัย ปี 2558
แหล่งทุน
หัวหน้าโครงการ
1
การวิจัยบูรณาการเพื่อเพิ่มศักยภาพและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ:ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และโภชนาการ (ปีที่ 2)มหาวิทยาลัยมหิดล
รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล
pattanee.win@mahidol.ac.th
2
โภชนาการแม่และเด็ก: ผลต่อสุขภาพและต้นทุนมนุษย์ (ปีที่ 3)มหาวิทยาลัยมหิดล
ดร.ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ
tippawan.pon@mahidol.ac.th
3
การใช้แป้งมันสำปะหลังทดแทนแป้งสาลีในผลิตภัณฑ์ขนมอบสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ.ดร.สิติมา จิตตินันทน์
sitima.jit@mahidol.ac.th
4
การพัฒนาอาหารสำหรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาการกลืน (ปีที่ 1)มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ.ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ
wantanee.krieng@mahidol.ac.th
5
การศึกษาการยอมรับของผู้บริโภคต่ออาหารจากหัวมันสำปะหลังสดที่มาจากสายพันธุ์และปัจจัยในการเพาะปลูกต่างๆสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ.ดร.สิติมา จิตตินันทน์
sitima.jit@mahidol.ac.th
6
การใช้เส้นใยเซลลูโลสที่สกัดจากเปลือกมังคุดเป็นสารอิมัลซิไฟเออร์และสารทดแทนไขมันในผลิตภัณฑ์มายองเนสเพื่อสุขภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
ดร.ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์
thunnalin.win@mahidol.ac.th
7
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอก่อนรับการรักษา และ การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการรับรสหลังรับรังสีรักษาเพื่อกำจัดรอยโรคหน่วยวิจัยและการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ประสาทสัมผัสเพื่อโภชนาการที่ดี (Research and Education Unit on Sensory Science for Better Nutrition หรือ SSBN) สถาบันโภชนาการ
ผศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม
dunyaporn.tra@mahidol.ac.th
8
The comparison between original and modified Thai food with monosodium glutamate (MSG) by using urinary sodium analysis in healthy subjectsหน่วยวิจัยและการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ประสาทสัมผัสเพื่อโภชนาการที่ดี (Research and Education Unit on Sensory Science for Better Nutrition หรือ SSBN) สถาบันโภชนาการ
ผศ.ดร.ชนิดา ปโชติการ
chanida.par@mahidol.ac.th
9
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่ายสำหรับเป็นข้อมูลการตัดสินใจเลือกผลิตภัณฑ์อาหารของผู้บริโภคเพื่อลดการบริโภคน้ำตาล โซเดียมและไขมัน (ปีที่ 1)มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สถาบันโภชนาการ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ)
ศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต
visith.cha@mahidol.ac.th
10
ประเมินติดตามสภาพแวดล้อมด้านอาหารและนโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันควบคุมปัญหาโรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประเด็นการจัดบริการอาหารของหน่วยงานและการประเมินติดตามร้านจำหน่ายอาหารมูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สถาบันโภชนาการ (แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ)
ผศ.ดร.กิตติ สรณเจริญพงศ์
kitti.sra@mahidol.ac.th
11
โครงการแผนงานพัฒนาต่อยอดโปรแกรมประเมินคุณภาพสำรับอาหารสำหรับโรงเรียน Thai School Lunch : จาก ระบบแนะนำสำรับอาหารกลางวัน เสริม ระบบติดตามประเมินผลออนไลน์ มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สถาบันโภชนาการ (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ)
อรพินท์ บรรจง
orapin.banjong52@gmail.com
12
Using mushrooms as a saltiness enhancer in meat products and surimi-based productsหน่วยวิจัยและการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ประสาทสัมผัสเพื่อโภชนาการที่ดี (Research and Education Unit on Sensory Science for Better Nutrition หรือ SSBN) สถาบันโภชนาการ
ผศ.ดร.สิติมา จิตตินันทน์
sitima.jit@mahidol.ac.th
13
ความหลากหลายทางชีวภาพในด้านของข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการของทุเรียนพันธุ์ท้องถิ่นในจังหวัดนนทบุรีสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
รศ.ดร.ครรชิต จุดประสงค์
kunchit.jud@mahidol.ac.th
14
โครงการศึกษาข้อมูลการบริโภคอาหารของประเทศไทย ระยะที่ 3 (ปีที่ 3)สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ผศ.ดร.นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล
nipa.roj@mahidol.ac.th
15
การพัฒนาขนมบัวลอยแป้งข้าวกล้องสำเร็จรูปเพื่อสุขภาพ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
ดร.ณัฐิรา อ่อนน้อม
nattira.onn@mahidol.ac.th
16
ความหลากหลายของพื้นที่และพันธุกรรมของตะคึก (Albizia lebbeck (L.) Benth.) ในประเทศไทย ต่อคุณค่าทางโภชนาการและประโยชน์เชิงสุขภาพสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
รศ.ดร.สมศรี เจริญเกียรติกุล
somsri.chr@mahidol.ac.th
17
การพัฒนาระบบกำกับดูแลความปลอดภัยผักและผลไม้สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ผศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่
chaniphun.but@mahidol.ac.th
18
ผลของมื้ออาหารที่มีดัชนีน้ำตาลและมวลน้ำตาลสูงและต่ำต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาล อินซูลิน glucagon-like peptide-1 glucose-dependent insulinotropic polypeptide และระดับความหิวอิ่มในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)
รศ.ดร.รัชนี คงคาฉุยฉาย
ratchanee.kon@mahidol.ac.th
19
การสร้างฐานข้อมูลวัตถุดิบอาหารและเครื่องปรุงรส: อาหารท้องถิ่นภาคต่างๆ และอาหารที่นิยมทั่วไป (ปีที่ 3)สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง
uraiporn.chi@gmail.com
20
โครงการส่งเสริมโภชนาการช่วงแรกของชีวิตในระบบงานอนามัยแม่และเด็ก (ปีที่ 1)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล
pattanee.win@mahidol.ac.th
21
การพัฒนาเครื่องดื่มข้าวเจ้าหอมนิลที่เพิ่มปริมาณชีวประสิทธิผลของสารแอนโธไซยานินโดยการหมักด้วยโพรไบโอทิคสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)
ดร.ชลัท ศานติวรางคณา
chalat.san@mahidol.ac.th
22
ประโยชน์เชิงสุขภาพ ความปลอดภัยต่อการบริโภค และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากพืชท้องถิ่นในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดกาญจนบุรีสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
รศ.ดร.สมศรี เจริญเกียรติกุล
somsri.chr@mahidol.ac.th
23
โภชนาการและประโยชน์ต่อสุขภาพของข้าวกล้องงอกนึ่งสายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 (ปีที่ 3)สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)(สวก.)
รศ.ดร.สมศรี เจริญเกียรติกุล
somsri.chr@mahidol.ac.th
24
การพัฒนาเจลลี่มะม่วงเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ดร.วรางคณา ศรีจำนงค์
warangkana.sri@mahidol.ac.th
25
การวิเคราะห์เภสัชจลนศาสตร์ของเจลลี่โภชนาผสมสาร PEITC ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์
ผศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม
dunyaporn.tra@mahidol.ac.th
26
สื่อการสอนเพื่อเสริมสร้างสมดุลสุขภาพที่เหมาะสมกับวิธีการเรียนรู้และความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพสมาคมนักกำหนดอาการแห่งประเทศไทย
อาจารย์ ปรารถนา ตปนีย์
pradtana.tap@mahidol.ac.th
27
Taste Perception of Thai Elders in Hospital-based settingJapanese Government Agency
ผศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม
dunyaporn.tra@mahidol.ac.th
28
Bioavailability of Protein in Mungbean MealInternational Atomic Energy Agency: IAEA
ผศ.ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ
wantanee.krieng@mahidol.ac.th
Message us