หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อโครงการ : | โครงการสถาบันโภชนาการร่วมลดโลกร้อน ครั้งที่ 10 |
ที่มาและความสำคัญ : | การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เกิดการทำลาย ความเสื่อมโทรมสูญสิ้น จนเป็นอันตรายต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์โลก มีความเกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) หรือการพัฒนาที่คำนึงถึงระบบนิเวศน์ (eco-development) มีเป้าหมายเพื่อความอยู่รอดของสังคมโลกในอนาคตต่อๆ ไป |
ช่วงเวลาที่จัดโครงการ : | วันที่ 18 มีนาคม 2559 |
สถานที่จัดโครงการ : | ศูนย์ฝึกอบรมที่ 6 (เจ็ดคด-โป่งก้อนเส้า) อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : | สถาบันโภชนาการ |
รูปแบบการดำเนินโครงการ : | จัดให้บุคลากร และนักศึกษาไปรับการฝึกอบรมด้านการอนุรักษ์ป่า และร่วมกันปลูกป่า |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมโครงการ : | บุคลากร และนักศึกษา |
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ : | 40 คน |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากโครงการ : | เป็นข้อมูลประกอบการได้รับรางวัลสถาบันที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (สำนักงานสีเขียว) ระดับเหรียญทอง จากนายกรัฐมนตรี |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน: | - |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อโครงการ : | โครงการสถาบันโภชนาการร่วมลดโลกร้อน ครั้งที่ 9 |
ที่มาและความสำคัญ : | หลักการหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่า คือการสร้างฝายชะลอน้ำ หรือ Check Dam ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้าง ที่ทำขึ้นเพื่อขวางหรือกั้นทางน้ำ โดยปกติมักจะกั้นลำห้วย ลำธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้ำ หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และหากเป็นช่องที่น้ำไหลแรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้ำให้ช้าลงด้วย เพื่อการกักเก็บตะกอนเอาไว้ไม่ให้ไปทับถมลำน้ำตอนล่าง อันเป็นเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและแหล่งน้ำ และทำให้ในบริเวณดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ ดินเกิดการอุ้มน้ำ ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดียิ่งขึ้น พื้นที่มีความชุ่มชื้น อันจะส่งผลดีต่อบริเวณโดยรอบ |
ช่วงเวลาที่จัดโครงการ : | วันที่ 2 เมษายน 2558 |
สถานที่จัดโครงการ : | บริเวณโรงเรียนบ้านป่าหวาย อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : | สถาบันโภชนาการ |
วัตถุประสงค์ : | เพื่อให้บุคลากร นักศึกษา มีความตระหนักในการอนุรักษ์ป่าไม้ เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีอย่างยั่งยืน |
รูปแบบการดำเนินโครงการ : | จัดให้บุคลากรและนักศึกษาไปร่วมกันจัดทำฝายชะลอน้ำ |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมโครงการ : | บุคลากร และนักศึกษา |
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ : | 40 คน |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากโครงการ : | เป็นข้อมูลประกอบการได้รับรางวัลสถาบันที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (สำนักงานสีเขียว) ระดับเหรียญทอง จากนายกรัฐมนตรี |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน: | |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อโครงการ : | โครงการสถาบันโภชนาการร่วมลดโลกร้อน ครั้งที่ 8 |
ที่มาและความสำคัญ : | การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เกิดการทำลาย ความเสื่อมโทรมสูญสิ้น จนเป็นอันตรายต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์โลก มีความเกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) หรือการพัฒนาที่คำนึงถึงระบบนิเวศน์ (eco-development) มีเป้าหมายเพื่อความอยู่รอดของสังคมโลกในอนาคตต่อๆ ไป |
ช่วงเวลาที่จัดโครงการ : | วันที่ 27 มิถุนายน 2557 |
สถานที่จัดโครงการ : | อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ อ.หนองปรือ จ.กาญจนบุรี |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : | สถาบันโภชนาการ |
วัตถุประสงค์ : | เพื่อให้บุคลากร นักศึกษา มีความตระหนักในการอนุรักษ์ป่าไม้ เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีอย่างยั่งยืน |
รูปแบบการดำเนินโครงการ : | จัดให้บุคลากรและนักศึกษาไปร่วมกันปลูกป่า |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมโครงการ : | บุคลากร และนักศึกษา |
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ : | 40 คน |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากโครงการ : | เป็นข้อมูลประกอบการได้รับรางวัลสถาบันที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (สำนักงานสีเขียว) ระดับเหรียญทอง จากนายกรัฐมนตรี |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากโครงการ : | รูปแบบการจัดการอาหารที่มีไขมันสูงของเด็กในโรงเรียน รอบรั้วโรงเรียน ครอบครัวและชุมชน |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน: | - |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : | 13 |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อโครงการ : | โครงการยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐาน ESPRel |
ที่มาและความสำคัญ : | สถาบันโภชนาการมีพันธกิจ การสอน วิจัย และบริการวิชาการ ซึ่งก่อให้เกิดขยะทั่วไป และขยะอันตราย รวมทั้งของเสียจากห้องปฏิบัติการ สถาบันจึงมีนโยบายในการกำจัดขยะและของเสียอันตรายเหล่านี้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่บุคลากร นักศึกษา ประชาชนที่มาติดต่อ และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม |
ช่วงเวลาที่จัดโครงการ : | ทุกวัน |
สถานที่จัดโครงการ : | อาคารสถาบันโภชนาการ |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : | สถาบันโภชนาการ /บุคลากร /นักศึกษา |
วัตถุประสงค์ : | เพื่อการลดขยะอันตรายและของเสียอันตราย และการกำจัดขยะเหล่านี้ ไม่ให้เป็นพิษต่อมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม |
รูปแบบการดำเนินโครงการ : | มีนโยบายและการดำเนินการกำจัดขยะทั่วไป และส่งกำจัดขยะ/ของเสียอันตรายอย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล ไม่ให้เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมโครงการ : | บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ผู้มาติดต่อ |
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ : | 200 คน |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากโครงการ : | รูปแบบการจัดการอาหารที่มีไขมันสูงของเด็กในโรงเรียน รอบรั้วโรงเรียน ครอบครัวและชุมชน |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน: | - |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : | 3, 13 |